บริภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ เฉพาะด้านความปลอดภัย : ข้อกำหนดทั่วไป

มาตรฐาน รายการทดสอบ ลิ้งค์ข้อมูล ห้องปฏิบัติการ
  • มอก. 1561-2548
  • ทั่วไป
  • ส่วนประกอบ ทั่วไป
  • การประเมินค่าและการทดสอบส่วนประกอบ
  • อุปกรณ์ควบคุมความร้อน
  • หม้อแปลง
  • เคเบิลต่อระหว่างหน่วย
  • ตัวเก็บประจุในวงจรปฐมภูมิ
  • ฉนวนคู่หรือฉนวนเสริมที่เชื่อมโยงกันโดยส่วนประกอบ ทั่วไป
  • ฉนวนคู่หรือฉนวนเสริมที่เชื่อมโยงกันโดยส่วนประกอบ ตัวเก็บประจุโยง
  • ฉนวนคู่หรือฉนวนเสริมที่เชื่อมโยงกันโดยส่วนประกอบ ตัวต้านทานเชื่อมโยง
  • ฉนวนคู่หรือฉนวนเสริมที่เชื่อมโยงกันโดยส่วนประกอบ ส่วนที่เข้าถึงได้
  • ส่วนประกอบต่างๆ ในบริภัณฑ์สำหรับระบบจ่ายกำลังไฟฟ้า IT
  • การเชื่อมต่อกำลังไฟฟ้า ระบบจ่ายกำลังไฟฟ้ากระแสสลับ
  • การเชื่อมต่อกำลังไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าเข้า
  • การเชื่อมต่อกำลังไฟฟ้า ขีดจำกัดแรงดันไฟฟ้าของบริภัณฑ์มือถือ
  • การเชื่อมต่อกำลังไฟฟ้า ตัวนำเป็นกลาง
  • การทำเครื่องหมายและคำแนะนำ พิกัดกำลังไฟฟ้า
  • การทำเครื่องหมายและคำแนะนำ ข้อแนะนำความปลอดภัย
  • การทำเครื่องหมายและคำแนะนำ วัฏจักรการทำงานระยะสั้น
  • การทำเครื่องหมายและคำแนะนำ การปรับตั้งแรงดันไฟฟ้าจ่าย
  • การทำเครื่องหมายและคำแนะนำ เต้ารับจ่ายกำลังบนบริภัณฑ์
  • การทำเครื่องหมายและคำแนะนำ การระบุฟิวส์
  • การทำเครื่องหมายและคำแนะนำ ขั้วต่อสาย ขั้วต่อลงดินป้องกันและขั้วต่อเชื่อมต่อป้องกัน
  • การทำเครื่องหมายและคำแนะนำ ขั้วต่อสาย ขั้วต่อสำหรับตัวนำแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธานกระแสสลับ
  • การทำเครื่องหมายและคำแนะนำ ขั้วต่อสาย ขั้วต่อสำหรับตัวนำแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธานกระแสตรง
  • การทำเครื่องหมายและคำแนะนำ อุปกรณ์ควบคุมและตัวชี้บอก การระบุ ที่ตั้งและการทำเครื่องหมาย
  • การทำเครื่องหมายและคำแนะนำ อุปกรณ์ควบคุมและตัวชี้บอก สี
  • การทำเครื่องหมายและคำแนะนำ อุปกรณ์ควบคุมและตัวชี้บอก สัญลักษณ์ตามข้อกำหนดใน IEC 60417
  • การทำเครื่องหมายและคำแนะนำ อุปกรณ์ควบคุมและตัวชี้บอก เครื่องหมายที่ใช้ตัวเลข
  • การทำเครื่องหมายและคำแนะนำ การแยกแหล่งจ่ายกำลังไฟฟ้าหลายแหล่ง
  • การทำเครื่องหมายและคำแนะนำ ระบบจ่ายกำลังไฟฟ้า IT
  • การทำเครื่องหมายและคำแนะนำ เทอร์มอสแตตและอุปกรณ์คุมค่าอื่นๆ
  • การทำเครื่องหมายและคำแนะนำ ภาษา
  • การทำเครื่องหมายและคำแนะนำ ความคงทน
  • การทำเครื่องหมายและคำแนะนำ ส่วนที่ถอดได้
  • การทำเครื่องหมายและคำแนะนำ แบตเตอรี่ที่เปลี่ยนแทนได้
  • การทำเครื่องหมายและคำแนะนำ การเข้าถึงของผู้ใช้ด้วยเครื่องมือ
  • การทำเครื่องหมายและคำแนะนำ บริภัณฑ์สำหรับที่ตั้งที่เข้มงวดในการเข้าถึง
  • การป้องกันช็อกไฟฟ้าและพลังงานอันตราย การป้องกันในพื้นที่ซึ่งผู้ใช้เครื่องเข้าถึง การเข้าถึงส่วนที่ได้รับพลังงานไฟฟ้า
  • การป้องกันช็อกไฟฟ้าและพลังงานอันตราย การป้องกันในพื้นที่ซึ่งผู้ใช้เครื่องเข้าถึง ช่องบรรจุแบตเตอรี่
  • การป้องกันช็อกไฟฟ้าและพลังงานอันตราย การป้องกันในพื้นที่ซึ่งผู้ใช้เครื่องเข้าถึง การเข้าถึงสาย ELV
  • การป้องกันช็อกไฟฟ้าและพลังงานอันตราย การป้องกันในพื้นที่ซึ่งผู้ใช้เครื่องเข้าถึง การเข้าถึงสายไฟฟ้าของวงจรแรงดันไฟฟ้าอันตราย
  • การป้องกันช็อกไฟฟ้าและพลังงานอันตราย การป้องกันในพื้นที่ซึ่งผู้ใช้เครื่องเข้าถึง พลังงานอันตราย
  • การป้องกันช็อกไฟฟ้าและพลังงานอันตราย การป้องกันในพื้นที่ซึ่งผู้ใช้เครื่องเข้าถึง อุปกรณ์ควบคุมด้วยมือ
  • การป้องกันช็อกไฟฟ้าและพลังงานอันตราย การป้องกันในพื้นที่ซึ่งผู้ใช้เครื่องเข้าถึง การปล่อยประจุของตัวเก็บประจุในบริภัณฑ์
  • การป้องกันช็อกไฟฟ้าและพลังงานอันตราย การป้องกันในพื้นที่ซึ่งผู้ซ่อมบำรุงเข้าถึง
  • การป้องกันช็อกไฟฟ้าและพลังงานอันตราย การป้องกันในที่ตั้งที่เข้มงวดในการเข้าถึง
  • วงจร SELV ข้อกำหนดทั่วไป
  • วงจร SELV แรงดันไฟฟ้าภายใต้ภาวะปกติ (V)
  • วงจร SELV แรงดันไฟฟ้าภายใต้ภาวะผิดพร่อง (V) การแยกโดยฉนวนคู่หรือฉนวนเสริม (วิธีที่ 1)
  • วงจร SELV แรงดันไฟฟ้าภายใต้ภาวะผิดพร่อง (V) การแยกโดยที่กั้นที่ต่อลงดิน (วิธีที่ 2)
  • วงจร SELV แรงดันไฟฟ้าภายใต้ภาวะผิดพร่อง (V) การป้องกันโดยการต่อลงดินของวงจร SELV (วิธีที่ 3)
  • วงจร SELV การต่อวงจร SELV เข้ากับวงจรอื่น
  • วงจร TNV ขีดจำกัด
  • วงจร TNV การแยกออกจากวงจรอื่นและออกจากส่วนที่แตะต้องถึง
  • วงจร TNV การแยกออกจากแรงดันไฟฟ้าอันตราย
  • วงจร TNV การต่อของวงจร TNV เข้ากับวงจรอื่น
  • วงจร TNV การทดสอบแรงดันไฟฟ้าทำงานที่กำเนิดขึ้นภายนอก
  • วงจรจำกัดกระแส ข้อกำหนดทั่วไป
  • วงจรจำกัดกระแส ค่าขีดจำกัด
  • วงจรจำกัดกระแส การต่อวงจรจำกัดกระแสเข้ากับวงจรอื่น
  • แหล่งจ่ายจำกัดกำลัง
  • การต่อลงดินและการเชื่อมต่อ การต่อลงดินป้องกัน
  • การต่อลงดินและการเชื่อมต่อ การต่อลงดินตามหน้าที่
  • การต่อลงดินและการเชื่อมต่อ ตัวนำต่อลงดินป้องกันและตัวนำเชื่อมต่อป้องกัน ทั่วไป
  • การต่อลงดินและการเชื่อมต่อ ตัวนำต่อลงดินป้องกันและตัวนำเชื่อมต่อป้องกัน ขนาดของตัวนำลงดินป้องกัน
  • การต่อลงดินและการเชื่อมต่อ ตัวนำต่อลงดินป้องกันและตัวนำเชื่อมต่อป้องกัน ขนาดของตัวนำเชื่อมต่อป้องกัน
  • การ ต่อลงดินและการเชื่อมต่อ ตัวนำต่อลงดินป้องกันและตัวนำเชื่อมต่อป้องกันความต้านทานของตัวนำต่อลงดิน และขั้วปลาย, กระแสไฟฟ้าทดสอบ (A)
  • การต่อลงดินและการเชื่อมต่อ ตัวนำต่อลงดินป้องกันและตัวนำเชื่อมต่อป้องกัน สีของฉนวน
  • การต่อลงดินและการเชื่อมต่อ ขั้วต่อ ทั่วไป
  • การต่อลงดินและการเชื่อมต่อ ขั้วต่อ ขั้วต่อลงดินป้องกันและขั้วต่อเชื่อมต่อป้องกัน
  • การต่อลงดินและการเชื่อมต่อ ขั้วต่อ การแยกตัวนำต่อลงดินป้องกันออกจากตัวนำเชื่อมต่อป้องกัน
  • การต่อลงดินและการเชื่อมต่อ ความสมบูรณ์ของการต่อลงดินป้องกัน การต่อระหว่างบริภัณฑ์
  • การต่อลงดินและการเชื่อมต่อ ความสมบูรณ์ของการต่อลงดินป้องกัน ส่วนประกอบในตัวนำต่อลงดินป้องกันและตัวนำเชื่อมต่อป้องกัน
  • การต่อลงดินและการเชื่อมต่อ ความสมบูรณ์ของการต่อลงดินป้องกัน การปลดวงจรต่อลงดินป้องกัน
  • การต่อลงดินและการเชื่อมต่อ ความสมบูรณ์ของการต่อลงดินป้องกัน ส่วนที่ผู้ใช้เครื่องถอดออกได้
  • การต่อลงดินและการเชื่อมต่อ ความสมบูรณ์ของการต่อลงดินป้องกัน ส่วนที่ถอดออกในระหว่างการซ่อมบำรุง
  • การต่อลงดินและการเชื่อมต่อ ความสมบูรณ์ของการต่อลงดินป้องกัน ความต้านทานการกัดกร่อน
  • การต่อลงดินและการเชื่อมต่อ ความสมบูรณ์ของการต่อลงดินป้องกัน หมุดเกลียวสำหรับการเชื่อมต่อป้องกัน
  • การต่อลงดินและการเชื่อมต่อ ความสมบูรณ์ของการต่อลงดินป้องกัน ความเชื่อถือได้บนโครงข่ายโทรคมนาคมหรือระบบกระจายสัญญาณด้วยเคเบิล
  • การป้องกันกระแสเกินและความผิดพร่องลงดินในวงจรปฐมภูมิ ข้อกำหนดพื้นฐาน
  • การป้องกันกระแสเกินและความผิดพร่องลงดินในวงจรปฐมภูมิ ความผิดพร่องที่ไม่ครอบคลุมในข้อ 5.3
  • การป้องกันกระแสเกินและความผิดพร่องลงดินในวงจรปฐมภูมิ การป้องกันการลัดวงจรสำรอง
  • การป้องกันกระแสเกินและความผิดพร่องลงดินในวงจรปฐมภูมิ จำนวนและตำแหน่งของอุปกรณ์ป้องกัน
  • การป้องกันกระแสเกินและความผิดพร่องลงดินในวงจรปฐมภูมิ การป้องกันโดยอุปกรณ์หลายอย่าง
  • การป้องกันกระแสเกินและความผิดพร่องลงดินในวงจรปฐมภูมิ การเตือนผู้ซ่อมบำรุง
  • อินเตอร์ล็อกนิรภัย หลักการทั่วไป
  • อินเตอร์ล็อกนิรภัย ข้อกำหนดเกี่ยวกับการป้องกัน
  • อินเตอร์ล็อกนิรภัย การกระตุ้นซ้ำโดยบังเอิญ
  • อินเตอร์ล็อกนิรภัย การทำงานอย่างปลอดภัยเมื่อล้มเหลว ตรวจใบรับรอง
  • อินเตอร์ล็อกนิรภัย การทำงานอย่างปลอดภัยเมื่อล้มเหลว ทดสอบ
  • อินเตอร์ล็อกนิรภัย ส่วนเคลื่อนที่ ตรวจใบรับรอง
  • อินเตอร์ล็อกนิรภัย ส่วนเคลื่อนที่ ทดสอบ
  • อินเตอร์ล็อกนิรภัย การยกเลิกการทำงาน
  • อินเตอร์ล็อกนิรภัย สวิตช์และรีเลย์ ช่องว่างหน้าสัมผัส (mm)
  • อินเตอร์ล็อกนิรภัย สวิตช์และรีเลย์ การทดสอบการเกินกำลัง
  • อินเตอร์ล็อกนิรภัย สวิตช์และรีเลย์ การทดสอบความคงทน
  • อินเตอร์ล็อกนิรภัย สวิตช์และรีเลย์ การทดสอบความทนทานไฟฟ้า
  • อินเตอร์ล็อกนิรภัย ตัวกระตุ้นทางกล ตรวจใบรับรอง
  • อินเตอร์ล็อกนิรภัย ตัวกระตุ้นทางกล ทดสอบ
  • ฉนวนไฟฟ้า สมบัติของวัสดุฉนวน
  • ฉนวนไฟฟ้า การทำภาวะชื้น
  • ฉนวนไฟฟ้า ชั้นของฉนวน
  • ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างตามผิวฉนวน และระยะห่างผ่านฉนวน ทั่วไป
  • ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างตามผิวฉนวน และระยะห่างผ่านฉนวน การหาแรงดันไฟฟ้าทำงาน
  • ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างตามผิวฉนวน และระยะห่างผ่านฉนวน ระยะห่างในอากาศ ทั่วไป
  • ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างตามผิวฉนวน และระยะห่างผ่านฉนวน ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างในอากาศในวงจรปฐมภูมิ
  • ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างตามผิวฉนวน และระยะห่างผ่านฉนวน ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างในอากาศในวงจรทุติยภูมิ
  • ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างตามผิวฉนวน และระยะห่างผ่านฉนวน ระยะห่างในอากาศ การวัดระดับแรงดันไฟฟ้าชั่วครู่ ตรวจใบรับรอง
  • ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างตามผิวฉนวน และระยะห่างผ่านฉนวน ระยะห่างในอากาศ การวัดระดับแรงดันไฟฟ้าชั่วครู่ ทดสอบ
  • ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างตามผิวฉนวน และระยะห่างผ่านฉนวน ระยะห่างตามผิวฉนวน
  • ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างตามผิวฉนวน และระยะห่างผ่านฉนวน ฉนวนตัน ระยะห่างผ่านฉนวนต่ำสุด
  • ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างตามผิวฉนวน และระยะห่างผ่านฉนวน ฉนวนตัน วัสดุแผ่นบาง
  • ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างตามผิวฉนวน และระยะห่างผ่านฉนวน ฉนวนตัน แผ่นวงจรพิมพ์
  • ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างตามผิวฉนวน และระยะห่างผ่านฉนวน ฉนวนตัน ชิ้นส่วนที่มีการพัน
  • ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างตามผิวฉนวน และระยะห่างผ่านฉนวน แผ่นวงจรพิมพ์เคลือบวัสดุ ทั่วไป
  • ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างตามผิวฉนวน และระยะห่างผ่านฉนวน แผ่นวงจรพิมพ์เคลือบวัสดุ การเตรียมตัวอย่างและการตรวจสอบเบื้องต้น
  • ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างตามผิวฉนวน และระยะห่างผ่านฉนวน แผ่นวงจรพิมพ์เคลือบวัสดุ วัฏจักรความร้อน
  • ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างตามผิวฉนวน และระยะห่างผ่านฉนวน แผ่นวงจรพิมพ์เคลือบวัสดุ การอบความร้อน
  • ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างตามผิวฉนวน และระยะห่างผ่านฉนวน แผ่นวงจรพิมพ์เคลือบวัสดุ การทดสอบความทนทานไฟฟ้า
  • ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างตามผิวฉนวน และระยะห่างผ่านฉนวน แผ่นวงจรพิมพ์เคลือบวัสดุ การทดสอบความต้านทานการขัดถู
  • ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างตามผิวฉนวน และระยะห่างผ่านฉนวน ส่วนปิดหุ้มและผนึก ตรวจใบรับรอง
  • ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างตามผิวฉนวน และระยะห่างผ่านฉนวน ส่วนปิดหุ้มและผนึก ทดสอบ
  • ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างตามผิวฉนวน และระยะห่างผ่านฉนวน ช่องว่างที่ประกอบด้วยสารประกอบฉนวน ตรวจใบรับรอง
  • ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างตามผิวฉนวน และระยะห่างผ่านฉนวน ช่องว่างที่ประกอบด้วยสารประกอบฉนวน ทดสอบ
  • ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างตามผิวฉนวน และระยะห่างผ่านฉนวน ขั้วต่อภายนอกของชิ้นส่วน
  • ระยะห่างในอากาศ ระยะห่างตามผิวฉนวน และระยะห่างผ่านฉนวน ฉนวนที่มีมิติแปรผันได้
  • การเดินสาย การต่อ และแหล่งจ่าย พิกัดกระแสไฟฟ้าและการป้องกันกระแสเกิน
  • การเดินสาย การต่อ และแหล่งจ่าย การป้องกันความเสียหายทางกล
  • การเดินสาย การต่อ และแหล่งจ่าย การติดแน่นสายภายใน
  • การเดินสาย การต่อ และแหล่งจ่าย ฉนวนของตัวนำ
  • การเดินสาย การต่อ และแหล่งจ่าย ลูกปัดและฉนวนเซรามิกส์
  • การเดินสาย การต่อ และแหล่งจ่าย หมุดเกลียวสำหรับหน้าสัมผัสไฟฟ้าที่มีแรงกด
  • การเดินสาย การต่อ และแหล่งจ่าย วัสดุฉนวนในการต่อทางไฟฟ้า
  • การเดินสาย การต่อ และแหล่งจ่าย หมุดเกลียวทำเกลียวขณะขันเข้าและหมุดเกลียวเกลียวห่าง
  • การเดินสาย การต่อ และแหล่งจ่าย ขั้วปลายของตัวนำ
  • การเดินสาย การต่อ และแหล่งจ่าย ปลอกหุ้มสาย
  • การ ต่อเข้ากับแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธานกระแสสลับหรือแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธานกระแสตรง วิธีการต่อ การต่อเข้ากับแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธานกระแสสลับ
  • การต่อเข้ากับแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธานกระแสสลับหรือแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธานกระแสตรง วิธีการต่อ การต่อเข้ากับแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธานกระแสตรง
  • การต่อเข้ากับแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธานกระแสสลับหรือแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธานกระแสตรง การต่อเข้ากับแหล่งจ่ายหลายแหล่ง
  • การต่อเข้ากับแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธานกระแสสลับหรือแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธานกระแสตรง บริภัณฑ์ต่ออย่างถาวร
  • การต่อเข้ากับแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธานกระแสสลับหรือแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธานกระแสตรง เต้าเสียบเครื่องใช้
  • การต่อเข้ากับแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธานกระแสสลับหรือแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธานกระแสตรง สายอ่อนป้อนกำลังไฟฟ้า สายอ่อนป้อนกำลังไฟฟ้ากระแสสลับ
  • การต่อเข้ากับแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธานกระแสสลับหรือแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธานกระแสตรง สายอ่อนป้อนกำลังไฟฟ้า สายอ่อนป้อนกำลังไฟฟ้ากระแสตรง
  • การต่อเข้ากับแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธานกระแสสลับหรือแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธานกระแสตรง ที่ยึดสายและอุปกรณ์ลดความเครียด
  • การต่อเข้ากับแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธานกระแสสลับหรือแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธานกระแสตรง การป้องกันความเสียหายทางกล
  • การต่อเข้ากับแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธานกระแสสลับหรือแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธานกระแสตรง อุปกรณ์ป้องกันสาย
  • การต่อเข้ากับแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธานกระแสสลับหรือแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธานกระแสตรง ที่ว่างสำหรับสายป้อนกำลังไฟฟ้า
  • ขั้วต่อสายสำหรับการต่อตัวนำภายนอก ขั้วต่อสาย
  • ขั้วต่อสายสำหรับการต่อตัวนำภายนอก การต่อสายอ่อนป้อนกำลังไฟฟ้าถอดไม่ได้
  • ขั้วต่อสายสำหรับการต่อตัวนำภายนอก ขั้วต่อหมุดเกลียว
  • ขั้วต่อสายสำหรับการต่อตัวนำภายนอก ขนาดของตัวนำที่ต่อ
  • ขั้วต่อสายสำหรับการต่อตัวนำภายนอก ขนาดของขั้วต่อสาย
  • ขั้วต่อสายสำหรับการต่อตัวนำภายนอก การออกแบบขั้วต่อสาย
  • ขั้วต่อสายสำหรับการต่อตัวนำภายนอก การจัดกลุ่มของขั้วต่อสาย
  • ขั้วต่อสายสำหรับการต่อตัวนำภายนอก สายตีเกลียว
  • การปลดวงจรจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธาน ข้อกำหนดทั่วไป
  • การปลดวงจรจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธาน อุปกรณ์ปลดวงจร
  • การปลดวงจรจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธาน บริภัณฑ์ที่ต่ออย่างถาวร
  • การปลดวงจรจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธาน ส่วนซึ่งยังคงได้รับพลังงานไฟฟ้า
  • การปลดวงจรจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธาน สวิตช์ในสายอ่อน
  • การปลดวงจรจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธาน บริภัณฑ์เฟสเดียวและบริภัณฑ์กระแสตรง
  • การปลดวงจรจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธาน บริภัณฑ์สามเฟส
  • การปลดวงจรจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธาน สวิตช์ที่เป็นอุปกรณ์ปลดวงจร
  • การปลดวงจรจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธาน เต้าเสียบที่เป็นอุปกรณ์ปลดวงจร
  • การปลดวงจรจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธาน บริภัณฑ์ที่ต่อถึงกัน
  • การปลดวงจรจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าประธาน แหล่งจ่ายกำลังไฟฟ้าหลายแหล่ง
  • การต่อระหว่างบริภัณฑ์ ข้อกำหนดทั่วไป
  • การต่อระหว่างบริภัณฑ์ แบบของวงจรการต่อเข้าด้วยกัน
  • การต่อระหว่างบริภัณฑ์ วงจร ELV ที่เป็นวงจรการต่อเข้าด้วยกัน
  • เสถียรภาพ
  • ความแข็งแรงทางกล ทั่วไป
  • ความแข็งแรงทางกล การทดสอบด้วยแรงคงที่ 10 N
  • ความแข็งแรงทางกล การทดสอบด้วยแรงคงที่ 30 N
  • ความแข็งแรงทางกล การทดสอบด้วยแรงคงที่ 250 N
  • ความแข็งแรงทางกล การทดสอบการตกกระทบ
  • ความแข็งแรงทางกล การทดสอบการตกกระแทก
  • ความแข็งแรงทางกล การทดสอบการปลดปล่อยความเค้น
  • ความแข็งแรงทางกล หลอดรังสีแคโทด
  • ความแข็งแรงทางกล หลอดความดันสูง
  • ความแข็งแรงทางกล บริภัณฑ์ติดผนังหรือเพดาน
  • การออกแบบและการสร้าง ขอบและมุม
  • การออกแบบและการสร้าง ที่จับและอุปกรณ์ควบคุมด้วยมือ
  • การออกแบบและการสร้าง อุปกรณ์ควบคุมปรับตั้งได้
  • การออกแบบและการสร้าง การติดแน่นส่วนต่างๆ
  • การออกแบบและการสร้าง การต่อของเต้าเสียบและเต้ารับ
  • การออกแบบและการสร้าง บริภัณฑ์เสียบเข้าโดยตรง ตรวจใบรับรอง
  • การออกแบบและการสร้าง บริภัณฑ์เสียบเข้าโดยตรง ทดสอบ
  • การออกแบบและการสร้าง ตัวทำความร้อนในบริภัณฑ์ที่ต่อลงดิน
  • การออกแบบและการสร้าง แบตเตอรี่ ตรวจใบรับรอง
  • การออกแบบและการสร้าง แบตเตอรี่ ทดสอบ
  • การออกแบบและการสร้าง น้ำมันและจาระบี
  • การออกแบบและการสร้าง ฝุ่น ผง ของเหลว และก๊าซ ตรวจใบรับรอง
  • การออกแบบและการสร้าง ฝุ่น ผง ของเหลว และก๊าซ ทดสอบ
  • การออกแบบและการสร้าง ภาชนะบรรจุของเหลวหรือก๊าซ
  • การออกแบบและการสร้าง ของเหลวที่เกิดเปลวไฟได้
  • การออกแบบและการสร้าง การแผ่รังสี ทั่วไป
  • การออกแบบและการสร้าง การแผ่รังสี การแผ่พลังงานสร้างไอออน ตรวจใบรับรอง
  • การออกแบบและการสร้าง การแผ่รังสี การแผ่พลังงานสร้างไอออน ทดสอบ
  • การออกแบบและการสร้าง การแผ่รังสี ผลกระทบของการแผ่รังสีอัลตราไวโอเลต (UV) ต่อวัสดุ
  • การออกแบบและการสร้าง การแผ่รังสี การเผยร่างกายมนุษย์ต่อการแผ่รังสี UV
  • การออกแบบและการสร้าง การแผ่รังสี เลเซอร์ (รวมถึงไดโอดปล่อยแสง)
  • การออกแบบและการสร้าง การแผ่รังสี ประเภทอื่น
  • การป้องกันส่วนที่เคลื่อนที่ที่ทำให้เกิดอันตราย ทั่วไป
  • การป้องกันส่วนที่เคลื่อนที่ที่ทำให้เกิดอันตราย การป้องกันในพื้นที่ซึ่งผู้ใช้เครื่องเข้าถึง
  • การป้องกันส่วนที่เคลื่อนที่ที่ทำให้เกิดอันตราย การป้องกันในที่ตั้งที่เข้มงวดในการเข้าถึง
  • การป้องกันส่วนที่เคลื่อนที่ที่ทำให้เกิดอันตราย การป้องกันในพื้นที่ซึ่งผู้ซ่อมบำรุงเข้าถึง
  • ข้อกำหนดทางความร้อน อุณหภูมิสูงสุด
  • ข้อกำหนดทางความร้อน ความทนความร้อนผิดปกติ
  • ช่องเปิดในเปลือกหุ้ม ช่องเปิดด้านบนและด้านข้าง
  • ช่องเปิดในเปลือกหุ้ม ด้านล่างของเปลือกหุ้มไฟ
  • ช่องเปิดในเปลือกหุ้ม ประตูหรือฝาครอบในเปลือกหุ้มกันไฟ
  • ช่องเปิดในเปลือกหุ้ม ช่องเปิดในบริภัณฑ์ขนย้ายได้
  • ช่องเปิดในเปลือกหุ้ม สารยึดติดใช้ในโครงสร้าง ตรวจใบรับรอง
  • ช่องเปิดในเปลือกหุ้ม สารยึดติดใช้ในโครงสร้าง ทดสอบชั่วโมงละ
  • ความทนไฟ การลดความเสี่ยงของการติดไฟและการลุกลามของเปลวไฟ
  • ความทนไฟ เงื่อนไขการใช้เปลือกหุ้มไฟ ส่วนที่ต้องการเปลือกหุ้มกันไฟ
  • ความทนไฟ เงื่อนไขการใช้เปลือกหุ้มไฟ ส่วนที่ไม่ต้องการเปลือกหุ้มกันไฟ
  • ความทนไฟ ทั่วไป
  • ความทนไฟ วัสดุ วัสดุสำหรับเปลือกหุ้มกันไฟ ตรวจใบรับรอง
  • ความทนไฟ วัสดุ วัสดุสำหรับเปลือกหุ้มกันไฟ ทดสอบ
  • ความทนไฟ วัสดุ วัสดุสำหรับส่วนประกอบและส่วนอื่นนอกเปลือกหุ้มกันไฟ ตรวจใบรับรอง
  • ความทนไฟ วัสดุ วัสดุสำหรับส่วนประกอบและส่วนอื่นนอกเปลือกหุ้มกันไฟ ทดสอบ
  • ความทนไฟ วัสดุ วัสดุสำหรับส่วนประกอบและส่วนอื่นภายในเปลือกหุ้มกันไฟ ตรวจใบรับรอง
  • ความทนไฟ วัสดุ วัสดุสำหรับส่วนประกอบและส่วนอื่นภายในเปลือกหุ้มกันไฟ ทดสอบ
  • ความทนไฟ วัสดุ วัสดุสำหรับชุดประกอบกรองอากาศ ตรวจใบรับรอง
  • ความทนไฟ วัสดุ วัสดุสำหรับชุดประกอบกรองอากาศ ทดสอบ
  • ความทนไฟ วัสดุ วัสดุที่ใช้ในส่วนประกอบแรงดันไฟฟ้าสูง ตรวจใบรับรอง
  • ความทนไฟ วัสดุ วัสดุที่ใช้ในส่วนประกอบแรงดันไฟฟ้าสูง ทดสอบ
  • กระแสไฟฟ้าสัมผัสและกระแสไฟฟ้าตัวนำป้องกัน ทั่วไป
  • กระแสไฟฟ้าสัมผัสและกระแสไฟฟ้าตัวนำป้องกัน บริภัณฑ์ที่ทดสอบ (EUT)
  • กระแสไฟฟ้าสัมผัสและกระแสไฟฟ้าตัวนำป้องกัน วงจรทดสอบ
  • กระแสไฟฟ้าสัมผัสและกระแสไฟฟ้าตัวนำป้องกัน การใช้เครื่องวัด
  • กระแสไฟฟ้าสัมผัสและกระแสไฟฟ้าตัวนำป้องกัน วิธีทดสอบ
  • กระแสไฟฟ้าสัมผัสและกระแสไฟฟ้าตัวนำป้องกัน การวัด
  • กระแสไฟฟ้าสัมผัสและกระแสไฟฟ้าตัวนำป้องกัน บริภัณฑ์ที่มีกระแสไฟฟ้าสัมผัสเกิน 3.5 mA
  • กระแส ไฟฟ้าสัมผัสและกระแสไฟฟ้าตัวนำป้องกัน กระแสไฟฟ้าสัมผัสเข้าสู่โครงข่ายโทรคมนาคมและระบบกระจายสัญญาณด้วยเคเบิล และออกจากโครงข่ายโทรคมนาคม ขีดจำกัดของกระแสไฟฟ้าสัมผัสเข้าสู่โครงข่ายโทรคมนาคมและระบบกระจายสัญญาณ ด้วยเคเบิล
  • กระแส ไฟฟ้าสัมผัสและกระแสไฟฟ้าตัวนำป้องกัน กระแสไฟฟ้าสัมผัสเข้าสู่โครงข่ายโทรคมนาคมและระบบกระจายสัญญาณด้วยเคเบิล และออกจากโครงข่ายโทรคมนาคม ผลรวมของกระแสไฟฟ้าสัมผัสจากโครงข่ายโทรคมนาคม
  • ความทนทานไฟฟ้า ทั่วไป
  • ความทนทานไฟฟ้า วิธีทดสอบ
  • ภาวะการทำงานผิดปกติและภาวะผิดพร่อง การป้องกันการทำงานโหลดเกินและผิดปกติ
  • ภาวะการทำงานผิดปกติและภาวะผิดพร่อง มอเตอร์
  • ภาวะการทำงานผิดปกติและภาวะผิดพร่อง หม้อแปลง
  • ภาวะการทำงานผิดปกติและภาวะผิดพร่อง ฉนวนตามหน้าที่
  • ภาวะการทำงานผิดปกติและภาวะผิดพร่อง ส่วนประกอบทางกลไฟฟ้า
  • ภาวะการทำงานผิดปกติและภาวะผิดพร่อง การจำลองภาวะผิดพร่อง
  • ภาวะการทำงานผิดปกติและภาวะผิดพร่อง บริภัณฑ์ซึ่งไม่ต้องอยู่เฝ้า
  • ภาวะการทำงานผิดปกติและภาวะผิดพร่อง เกณฑ์การเป็นไปตามข้อกำหนดสำหรับภาวะการทำงานผิดปกติและภาวะผิดพร่อง
  • การ ป้องกันผู้ซ่อมบำรุงโครงข่ายโทรคมนาคม และผู้ใช้บริภัณฑ์อื่นซึ่งต่ออยู่กับโครงข่าย จากอันตรายต่างๆ ในบริภัณฑ์ การป้องกันแรงดันไฟฟ้าอันตราย
  • การ ป้องกันผู้ซ่อมบำรุงโครงข่ายโทรคมนาคม และผู้ใช้บริภัณฑ์อื่นซึ่งต่ออยู่กับโครงข่าย จากอันตรายต่างๆ ในบริภัณฑ์ การแยกโครงข่ายโทรคมนาคมออกจากดิน ข้อกำหนด
  • การ ป้องกันผู้ซ่อมบำรุงโครงข่ายโทรคมนาคม และผู้ใช้บริภัณฑ์อื่นซึ่งต่ออยู่กับโครงข่าย จากอันตรายต่างๆ ในบริภัณฑ์ การแยกโครงข่ายโทรคมนาคมออกจากดิน ข้อยกเว้น
  • การป้องกันผู้ใช้บริภัณฑ์จากแรงดันไฟฟ้าเกินบนโครงข่ายโทรคมนาคม ข้อกำหนดการแยก
  • การป้องกันผู้ใช้บริภัณฑ์จากแรงดันไฟฟ้าเกินบนโครงข่ายโทรคมนาคม วิธีทดสอบความทนทานไฟฟ้า การทดสอบอิมพัลส์
  • การป้องกันผู้ใช้บริภัณฑ์จากแรงดันไฟฟ้าเกินบนโครงข่ายโทรคมนาคม วิธีทดสอบความทนทานไฟฟ้า การทดสอบสถานะคงตัว
  • การป้องกันผู้ใช้บริภัณฑ์จากแรงดันไฟฟ้าเกินบนโครงข่ายโทรคมนาคม วิธีทดสอบความทนทานไฟฟ้า เกณฑ์การเป็นไปตามข้อกำหนด
  • การป้องกันระบบสายโทรคมนาคมจากการร้อนเกิน
  • การป้องกันผู้ซ่อมบำรุงระบบกระจายสัญญาณด้วยเคเบิล และผู้ใช้บริภัณฑ์อื่นที่ต่อเข้ากับระบบ จากแรงดันไฟฟ้าอันตรายในบริภัณฑ์
  • การป้องกันผู้ใช้บริภัณฑ์จากแรงดันไฟฟ้าเกินในระบบกระจายสัญญาณด้วยเคเบิล
  • ฉนวนระหว่างวงจรปฐมภูมิกับระบบกระจายสัญญาณด้วยเคเบิล ทั่วไป
  • ฉนวนระหว่างวงจรปฐมภูมิกับระบบกระจายสัญญาณด้วยเคเบิล การทดสอบแรงดันเสิร์จ
  • ฉนวนระหว่างวงจรปฐมภูมิกับระบบกระจายสัญญาณด้วยเคเบิล การทดสอบอิมพัลส์